รูปแบบการเคลื่อนที่ของน้ำใต้ดินและตัวละลายในพื้นที่ตะวันตกเฉียงเหนือของทะเล
Galilee
บทคัดย่อ
ปริมาณน้ำ 25% ของปริมาณทั้งปีที่ใช้ในประเทศอิสราเอลนั้นมาจากทะเลสาบKinneret น้ำเค็มใต้ดินที่ไหลลงสู่ทะเลสาบโดยมากมาจากน้ำซับเค็มตามแถบชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือใกล้กับ
Tabgha และ Fuliya จากการศึกษาธรณีเคมีพบว่า
น้ำเค็มเกิดจากการผสมระหว่างน้ำจืดจากบรรยากาศกับสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ความเข้มข้นสูง
จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ความแตกต่างของลักษณะทางอุทกวิยาในรูปแบบเชิงเวลาระหว่างน้ำซับที่
Tabgha กับ Fuliya คือ ที่ Fuliya
พฤติกรรมเชิงเวลาของหัวน้ำ, การไหล และความเค็ม ของระบบน้ำซับจะแปรตามระดับน้ำในทะเลสาบ
ส่วนที่ Tabgha ปริมาณน้ำฝนจะส่งผลให้หัวน้ำและการไหลเพิ่มขึ้นในขณะที่ความเค็มลดลง ในการศึกษานี้ตั้งสมมติฐานว่า
ปัจจัยหลักที่ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ที่แตกต่างกันนี้ คือ ความแตกต่างของการกระจายเชิงพื้นที่ของแนวรอยแยกที่เชื่อมต่อระหว่างชั้นหินอุ้มน้ำไปสู่ทะเลสาบ ดังนั้นวัตถุประสงค์ในการศึกษานี้คือพัฒนาแบบจำลองเชิงตัวเลขในสามมิติที่เป็นอิสระต่อช่วงเวลา
เพื่อใช้ในการคำนวณการไหลและการเคลื่อนที่ของตัวละลายในระบบน้ำซับของ Tabgha และ Fuliya โดยแบบจำลองจะมีโครงสร้างทางอุทกวิทยาที่เหมือนกัน
แต่แตกต่างกันที่ระดับการเชื่อมต่อของชั้นหินอุ้มน้ำกับทะเลสาบ, การกระจายเชิงพื้นที่ของแนวรอยแยก
ซึ่ง Fuliya จะมีแนวรอยแยกมากกว่า Tabgha ความแตกต่างของพฤติกรรมน้ำซับใน Fuliya
และ Tabgha จะถูกจำลองโดยค่าที่สอดคล้องกันระหว่างค่าที่วัดได้กับค่าที่คำนวณได้
ปริมาณการไหลสู่ทะเลสาบต่อปีที่คำนวณได้ของน้ำและตัวละลายใกล้เคียงกับค่าที่คำนวณได้จากการประมาณการประจำปีที่ปฏิบัติเป็นประจำ
ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่า
นอกจากความแตกต่างในสภาพพื้นที่รอยแยกแล้ว หัวน้ำที่เงื่อนไขขอบเขตของระบบน้ำซับใน
Tabgha
ยังสูงกว่า Fuliya อีกด้วย
Ph.D Thesis
Hila Abbo
Ground Water and Solutes Transport Model of the
Area
North-West to the Sea of Galilee
North-West to the Sea of Galilee
Abstract
Lake Kinneret
supplies 25% of the annual water consumption of Israel. Saline groundwater
flows into the lake mainly through offshore saline springs along the north-west
coast, near Tabgha and Fuliya. Geochemical studies suggest that the saline
waters are the result of mixing between two end members: fresh meteoric water
and deep Ca-Cl brine.
Analysis of data indicates a
difference in temporal patterns of hydrological characteristics between
Tabgha and Fuliya springs: the temporal behavior of head, discharge and salinity in the
Fuliya springs system follow the lake level. Rainfall events lead in
Tabgha to head and discharge increase and a salinity decrease.
In this study we hypothesize that
the main reason for the different phenomena observedis a difference in the
spatial distribution of fractured regions that connect the regional aquifer to
the lake. Therefore, the objective of this study is to develop
three-dimensional, time dependent, numerical models that compute the flow and
solute transport in both Tabgha and Fuliya spring systems. The models are based
on identical hydrogeological structure, but differ in the degree of
aquifer-lake connection, and the spatial distribution of fractured zones. The
Fuliya system consists of more fractured regions than the Tabgha group.
The different behavior of the Fuliya
and Tabgha spring groups is reproduced with an excellent agreement between
measured and calculated patterns. Calculated annual discharges of water and
solutes into the lake are similar to values calculated by annual mass budgets
routinely performed for the lake.
It was shown that in addition to the
differences in fractured regions, head at the boundary condition of the Tabgha
springs system is higher than that of the Fuliya system
Translated by PL Translation Services
English to Thai Translation
Specialized in Agricultural Engineering Articles
English to Thai Translation
Specialized in Agricultural Engineering Articles
No comments:
Post a Comment